วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในห้องเรียน

               อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์ปาล์ม

1.นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร                    ไฟท์
2.นายจารณะ  แท่งทอง                            เปา
3.นางสาวเฉลิมพร ศรีมณี                          เจล
4.นายชาติศิริ รัตนชู                                  ติ๊บ
5.นายชินวัฒร์ เพ็ชรโสม                            แมน                                                                    6..นายณัฐกร ชัยปาน                                โจ
7.นายณัฐกร สงสม                                   จ๊อป
8.นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี                        เกมส์     
9.นางสาวทัศนีย์วรรณ กาญจโนภาส           ษา
10.นายธัณวัตร์ แก้วบุษบา                         ธัน
11.นายนราธร จันทรจิตร                            เนม
12.นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงค์                   แอม
13.นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ            อ้าย
14.นางสาวปัถยา บุญชูดำ                          ปัด
15.นายพศวัต บุญแท่น                              อ๊อฟ
16.นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ            แพร
17.นายไฟซ้อล ประชานิยม                       ซอล
18.นายภูมิภัทร์ สรรนุ่ม                              อ้วน
19.นายยศกร บัวดำ                                   ทาย
20.นางสาวรัฐชา วงศ์สุวรรณ                      เบญ
21.นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว                          เอ็ม    
22.นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล                      นุ๊ก
23.นายวาทิศ อินทร์ปราบ                           เบ้นซ์
24.นางสาววิภารัตน์ ดำสุข                          ออม
25.นางสาวศศิธร ชูปาน                              จูน
26.นายศุภกิจ ติเสส                                    ดุก
27.นายเศรษฐชัย ฐินะกุล                            ตาล
28.นายสราวุธ จันทร์แก้ว                             ฟิล์ม
29.นายสุชาครีย์ งามศรีตระกูล                     เบ้นซ์
30.นายสุริยา หวันสะเม๊าะ                            ดิ้ง 
31.นายอนันต์ อาแว                                    นัง 
32.นายอนุวัช นุ่นเอียด                                กอล์ฟ
33.นายอภิชัย เสวาริท                                 บอล
34.นางสาวอรอุมา หมากปาน                       ญาญ่า








วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS/RS

             ระบบ AS/RS



           AS/RS
              

ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
(Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า AS/RS)  

               คือ  การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ

ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS

 องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)

อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)

การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
               การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load 
2.หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ

การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน

ระบบการจัดเก็บสินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ 
Automated Storage/Retrieval System(AS/RS)

               คือ ระบบบริหาร การจัดเก็บสินค้า เก็บวัตถุอัตโนมัติ เหมาะกับบริษัทที่ต้องการลดการใช้งานพื้นที่ หรือต้องการเพิ่ม ปริมาณในการจัดเก็บมากขึ้น เช่น คลังสินค้า, โกดังสินค้า, อาคารจอดรถอัตโนมัต, ห้องเก็บสมุดอัตโนมัติ เป็นต้น

               ระบบ ASRS จะมีการทำงานควบคู่อัตโนมัติอย่างเป็นระบบอยู่ 2 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ใช้เทคโน โลยีโรบอทอัตโนมัติ กับซอร์ฟแวร์ที่ สามารถพัฒนา นำไปใช้ได้กับทุกพื้นที่

               ประโยชน์ที่จะได้รับลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้









วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม



หุ่นยนต์ในการเก็บกู้ระเบิด



หุ่นยนต์ที่เรียนแบบมนุษย์


วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

เครื่องจักร NC

เครื่องจักร NC
          เครื่องจักร NC ( Numerical Control) คือ จะถูกควบคุมการทํางานดวยรหัส ที่ประกอบดวยตัวเลข ตัวอักษร     และสัญลักษณอื่น ๆ ซึ่งรหัสเหลาน ี้ จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากน ั้นจึงสงไป กระตุนใหอุปกรณทางไฟฟา เชนมอเตอรหรืออุปกรณอื่น ๆ ทํางาน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุนแรก ๆ จะปอนรหัสผานทาง Punched Card ตอมามีการพัฒนามาเปนการปอนดวย เทปกระดาษเจาะรู ตอมาถึงยุคท ี่ คอมพิวเตอรเฟองฟูจึงนําคอมพิวเตอรมาเปนตัวปอนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเปนที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)

ลักษณะการทำงาน 1. Adaptable วัตถุกระบวนการ พอดีกับแม่พิมพ์ลักษณะของผลิตภัณฑ์เช่นการผลิตชิ้นส่วน ให้เหมาะสมกับแม่พิมพ์การผลิต และการประมวลผลวิธีเครื่องจักรความแม่นยำและมีความเสถียรในการใช้เครื่องจักคุณภาพสูง
2. สามารถจะเชื่อมโยงแบบหลายแกน สามารถดำเนินการส่วนมีรูปร่างซับซ้อนการเปลี่ยนแปลง 3. Parts โดยทั่วไปเพียงต้องการเปลี่ยนโปรแกรมสามารถบันทึกเวลาเตรียมผลิต 4. ความแม่นยำสูง ความแข็งแกร่งสูงของเครื่องตัวเอง คุณสามารถเลือกประมวลผลดี ผลผลิตสูง (ปกติ 3-5 ครั้งที่เครื่องมือเครื่องจักรทั่วไป);
5. ระดับสูงของระบบอัตโนมัติของเครื่องมือ คุณสามารถลดความเข้มของแรงงาน 6. Modernization การจัดการการผลิตของเครื่องมือเครื่อง NC ด้วยรหัสมาตรฐาน ส่งข้อมูล การประมวลผลข้อมูลดิจิตอลคอมพิวเตอร์ควบคุมวิธีใช้ วางรากฐานสำหรับการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วย การผลิตและการรวมของการบริหารจัดการต้องการ
7. Higher สำหรับผู้ประกอบการ พนักงานบำรุงรักษาสูงกว่าข้อกำหนดทางเทคนิค]


ข้อดีของเครื่องจักร NC  
    1. หลีกเลี่ยงความจำเป็นที่ต้องใช้ช่างควบคุมที่มีทักษะและประสบการณ์สูง
    2. ช่างควบคุมเครื่องมีเวลาว่างจากการควบคุมเครื่อง สามารถที่จัดเตรียมงาานอื่นๆ ไว้ล่วงหน้าได้

    3. การตรวจสอบคุณภาพไม่จำเป็นต้องกระทำทุกขั้นตอนและทุกชิ้น
ข้อเสียของเครื่องจักรกล  NC 
    1. การซ่อมบำรุงจะต้องใช้ช่างที่มีประสบการณ์สูงและผ่านการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะ
    2. ราคาของเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในกระบวนการการตัดเฉือน มีราคาสูง

    3. พื้นที่ติดตั้งเครื่องจักร จะต้องควบคุมระดับอุณหภูมิ ความชื้นและฝุ่นละออง


เครื่องจักร NCN
          เครื่อง CNC (Computer Numerical Control) คือ เครื่องจักรกลแบบอัตโนมัติที่มีการทำงานด้วยระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยตัวเครื่องจะทำงานตามแบบที่เราได้จัดใส่โปรแกรมการทำงานเข้าไป และสามารถใช้ได้หลายภาษา ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เครื่องจักรชนิดนี้กับงานโลหะที่ต้องการความละเอียดและแม่นยำ หรือมีความซับซ้อนสูง โดยมีจุดประสงค์ในสร้างเครื่อง CNC ขึ้นมาเพื่อให้สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติในแบบรวดเร็ว แม่นยำ และสามารถทำงานในแบบที่ซับซ้อนได้ดี ด้วยระบบมอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการควบคุมมุมต่างๆ ได้อย่างละเอียด ทำให้ชิ้นงานออกมาดี

หลักการทำงาน
          เครื่องซีเอ็นซี (CNC Machine) มีระบบควบคุมที่ป้อนข้อมูลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของเครื่องผ่านแผงคีย์บอร์ด / แป้นพิมพ์ (Key Board) หรือเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เมื่อระบบควบคุมอ่านโปรแกรม และนำข้อมูลไปควบคุมการทำงานเครื่องจักรกล โดยอาศัยมอเตอร์ป้อน (Feed Motor) เพื่อให้แท่นเลื่อนเคลื่อนที่ตามคำสั่ง เช่น เครื่องซีเอ็นซี จะมีมอเตอร์ในการเคลื่อนที่อยู่ 2 ตัว หรือ เครื่องกัดซีเอ็นซี จะมีมอเตอร์ป้อน 3 ตัว โดยระบบควบคุมอ่านโปรแกรมและเปลี่ยนรหัสโปรแกรมเป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อควบคุมมอเตอร์ แต่เนื่องจากสัญญาณที่ออกจากระบบควบคุมนี้มีกำลังน้อย ไม่สามารถไปหมุนขับให้มอเตอร์ทำงานได้ จึงส่งสัญญาณผ่านภาคขยายสัญญาณของระบบขับ (Drive Amplified) และส่งสัญญาณต่อไปยังมอเตอร์ป้อนแนวแกนตามที่โปรแกรมกำหนด ทั้งความเร็วและระยะทาง การเคลื่อนที่ของแท่นเลื่อนจะถูกโปรแกรมล่วงหน้า เพื่อควบคุมเครื่องซีเอ็นซี และมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ตรวจสอบตำแหน่งของแท่นเลื่อนให้ระบบควบคุม เรียกว่า ระบบวัดขนาด (Measuring System) ซึ่งประกอบด้วยสเกลแนวตรง (Liner Scale) มีจำนวนเท่ากับจำนวนแนวแกนในการเคลื่อนที่ของเครื่อง ทำหน้าที่ส่งสัญญาณไฟฟ้าที่สัมพันธ์กับระยะทางที่แท่นเลื่อนเคลื่อนที่กลับไปยังระบบควบคุม
จากคุณสมบัติพิเศษนี้ ทำให้เครื่องซีเอ็นซีสามารถผลิตชิ้นงานให้มีรูปร่าง และรูปทรงให้มีขนาดตามที่เราต้องการได้ เนื่องจากการสร้างและการทำงานที่เหนือกว่าเครื่องจักรกลทั่วไป จึงทำให้เครื่องซีเอ็นซีเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญมากในปัจจุบันนี้ หากต้องการผลิตสินค้าให้ได้จำนวนมากๆ และลดจำนวนระยะเวลาการผลิตของสินค้า
ข้อดีของ เครื่องจักร CNC
1. มีความแม่นยำสูงในการปฏิบัติงาน เพราะชิ้นงานทุกชิ้นต้องการขนาดที่แน่นอน
2. ชิ้นงานทุกชิ้นมีคุณภาพสม่ำเสมอเท่ากันหมด เนื่องจากผลิตโดยใช้โปรแกรมในการควบคุมการทำ         งานของเครื่องจักร CNC
3. โอกาสเกิดความเสียหายต่อชิ้นงานหรือต้องแก้ไขชิ้นงานจะน้อยหรือแทบจะไม่มีเลย เพราะชิ้นงานที่     ทำจะใช้โปรแกรม ในการควบคุมถ้าเกิดปัญหาข้อผิดพลาดก็จะแก้ไขได้ที่ตัวโปรแกรม
ข้อเสียของเครื่อง CNC
1. เครื่อง CNC มีราคาแพงมากเพราะต้องนำเข้าจากต่างประเทศเนื่องจากยังไม่มีการผลิตของเครื่อง         
CNC ภายในประเทศ
2. ค่าบำรุงซ่อมแซมค่อนข้างสูง การซ่อมแซมมีความซับซ้อนอยู่มาก เพราะทั้ง ฮาร์ดแวร์ (Hardware)       และ ซอฟต์แวร์ (Software) รวมถึงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็คโทรนิกส์ ต้องใช้ช่างผู้             ชำนาญการในการซ่อมแซม
3. อุปกรณ์และซอฟต์แวร์เสริม ( Option ) มีราคาสูงและต้องได้มาจากผู้ผลิตเครื่องจักรCNC นั้น ๆ             เท่านั้น


เครื่องจักร DNC
          Distribution Numerical Control: DNC SYSTEM คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน

          SUPER-DNC SOFTWARE คือ โปรแกรมควบคุมระบบ DNC ที่มีความทันสมัย มีสเถียรภาพและสามารถสื่อสารกับเครื่องจักรกลระบบ CNC ได้หลากหลายรุ่นและหลายยี่ห้อ ทั้งเครื่องที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดหรือเครื่องเก่าที่มีอายุใช้งานและถูกสร้างขึ้นมานานนับ 10 ปีแล้วก็ตาม
          SUPER-DNC ทำให้โรงงานไม่ว่าจะเป็นงานผลิตแม่พิมพ์ Mould, DIE, Punch Die หรือ Part Production ก็ตาม สามารถใช้เครื่องจักร และ NC Data ซึ่งเป็นทรัพย์สินอันมีค่าของโรงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่โรงงานและองค์กร สร้างความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กรได้เป็นอย่างดี และยังทำให้พนักงานทำงานได้สะดวกขึ้นเป็นการเสริมขวัญและกำลังใจพนักงานให้มีความรักองค์กรและมุ่งมั่นในการสร้างผลงานที่ดีแก่องค์กรอีกด้วย

ลักษณะการทำงาน
1. การเรียกโปรแกรม NC Data ที่ต้องการ โดยรับส่งโดยตรงระหว่างเครื่องจักรกลระบบ CNC กับคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ (SUB Program Calling) โดยการเรียกโดยตรงที่หน้าเครื่องจักรกลระบบ CNC
2. การให้บริการกระจายข้อมูลโปรแกรม NC Data ในแบบเครื่องข่ายโดยมี Server เป็นศูนย์กลางการติดต่อรับส่งข้อมูลโปรแกรม NC Data กับเครื่องจักรกลระบบ CNC ทุกเครื่องในเครือข่าย โดยมีสถานี Client Station ซึ่งเป็นสถานี Generate (สร้าง) หรือ INPUT หรือ EDIT ข้อมูลโปรแกรม NC Data เพื่อส่งเข้าสู่ Server กลางได้ (Client – Server Configuration System)
3. การเริ่มกัดงานใหม่ต่อจากการกัดที่หยุดค้างไว้เดิม (Start Cutting from any program line) กรณีที่มีการหยุดกัดงานกลางคัน เช่น Tool สึกหรือ Tool แตก จำเป็นต้องหยุดค้างโปรแกรมไว้เพื่อเปลี่ยน Tool ใหม่ จากนั้น Software SUPER-DNC สามารถส่งต่อข้อมูลโปรแกรม NC Data ในบรรทัดต่อไปได้ โดยไม่ต้องเริ่มงานใหม่ทั้งหมด
4. สามารถกำหนด Protocols พิเศษต่างๆ (เครื่องจักรเก่าๆ หรือที่ไม่แพร่หลายในตลาด) โปรแกรม SUPER-DNC สามารถติดต่อกับเครื่องจักรกลระบบ CNC ที่มี Protocol ที่แตกต่างกันได้อย่างหลากหลายและกว้างขวาง (Special Protocols for CNC Machines)
5. การทำงานแบบ Auto-Search สำหรับส่ง Sub Programs หลายๆ โปรแกรมเรียงไปตามลำดับไปยังเครื่องจักรเป้าหมาย
6. OPTION การแจ้งเตือนโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ (Notify User for Events such as cutting finish) เช่น เมื่อกัดงานเสร็จแล้ว หรือเกิดการหยุดกัดงานโดยไม่คาดคิด SUPER-DNC สามารถติดต่อด้วย Special GPRS Data modem เพื่อส่งแจ้งเตือนไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile phone) ด้วย E-mail หรือ SMS Message ของผู้ใช้ได้โดยอัตโนมัติเพื่อให้ผู้ใช้ทราบและดำเนินการต่อไปได้




วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร

   ดาวเทียมสื่อสาร    

 (Communication Satellite)

            เป็นดาวเทียมที่มีจุดประสงค์เพื่อการสื่อสารและโทรคมนาคม จะถูกส่งไปในช่วงของอวกาศเข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35.786 กิโลเมตร ซึ่งความสูงในระดับนี้จะเป็นผลทำให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างโลกกับดาวเทียม ในขณะที่โลกหมุนก็จะส่งแรงเหวี่ยง ทำให้ดาวเทียมเกิดการโคจรรอบโลกตามการหมุนของโลก

            ผู้ริเริ่มแนวคิดการสื่อสารดาวเทียมคือ อาเธอร์ ซี คลาร์ก (Arthur C. Clarke) นักเขียนนวนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาสร้างจินตนาการการสื่อสารดาวเทียมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 โดยเขียนบทความเรื่อง “Extra Terrestrial Relay” ในนิตยสาร Wireless World ฉบับเดือนตุลาคม 1945 ซึ่งบทความนั้นได้กล่าวถึงการเชื่อมระบบสัญญาณวิทยุจากมุมโลกหนึ่งไปยังอีกมุมโลกหนึ่ง ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยใช้สถานีถ่ายทอดวิทยุที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไปประมาณ 35,786 กิโลเมตร จำนวน 3 สถานี
ดาวเทียมคือ สถานีไมโครเวฟลอยฟ้านั่นเอง ซึ่งทำหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมที่อยู่บนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพื้นจะทำการส่งสัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึ่งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่งมีตำแหน่งคงที่เมื่อเทียมกับตำแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปให้ลอยอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 23,300 กม.เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพื้นซึ่งมีกำลังอ่อนลงมากแล้วมาขยาย จากนั้นจะทำการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตำแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่งสัญญาณข้อมูลไปด้วยความถี่ในอีกความถี่หนึ่งลงไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า "สัญญาณอัปลิงก์" (Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่าสัญญาณ

ดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point)หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) สถานดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก ดังนั้นถ้าจะส่งสัญญาณข้อมูลให้ได้รอบโลกสามารถทำได้โดยการส่งสัญญาณผ่านสถานีดาวเทียมเพียง 3 ดวงเท่า


ข้อดีของดาวเทียม
ข้อดีของการสื่อสารผ่านดาวเทียมมีดังนี้ 1. พื้นที่ครอบคลุมอยู่ในระดับสูงมากกว่าที่ระบบภาคพื้นดิน 2. ค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูลเป็นอิสระจากพื้นที่ครอบคลุม
ข้อเสียของดาวเทียม
ข้อเสียของการสื่อสารผ่านดาวเทียมมีดังนี้ 1. เปิดตัวดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรเป็นกระบวนการที่มีราคาแพง 2. ความล่าช้าในการขยายพันธุ์สูงสำหรับระบบดาวเทียมกว่าระบบภาคพื้นดินธรรมดา
ผลกระทบ
การส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอื่นๆได้อีกทั้งยังมีเวลาประวิง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลงของสัญญาณ และที่สำคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทำให้ค่าบริการสูงตามขึ้นมาเช่นกั

วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม


เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม


บทที่ 1    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 

บทที่ 2    การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม

บทที่ 3    การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

บทที่ 4    ระบบประมวลผล

บทที่ 5    เครื่องจักรกลNC

บทที่ 6    หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

บทที่ 7    ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ

บทที่ 8    ระบบการจัดเก้บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ

บทที่ 9    PLC/PC

บทที่ 10  คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว



 ประวัติส่วนตัว

ชื่อ-นามสกุล นางสาวเบญญทิพย์  ฆังคสุวรรณ

ชื่อเล่น อ้าย

รหัสนักศึกษา 606705061

อายุ 22 ปี

วัน เดือน ปีเกิด 21  พฤศจิกายน 2538

บ้านอยู่จังหวัดสงขลา

จบมาจาก วิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลา

สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกกรม

สาขา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม

เบอร์โทร 096-5932792

    Facebook  Benyathip  Kungkasuwan
     

  อาหารที่ชอบ ก๋วยเตี๋ยว

สีที่ชอบ สีแดง สีชมพู

สัตว์เลี้ยงที่ชอบ สุนัข

วิชาที่ชอบ วิชาภาษาไทย

คติประจำใจ ฝันให้ไกล  ไปให้ถึง

สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในห้องเรียน                อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์ปาล์ม 1.นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร                    ไฟท์ 2....